วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการทำให้มะม่วงออ กผลตรงจุดที่เรานั้นต้องการ กับบทความ วิ ธีแกล้งมะม่วงออ กผลดก ลูกใหญ่ ตลอ ดทั้งปี ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง เพื่อให้เราสามารถมีมะม่วงเก็บทานได้ตลอ ดทั้งปี
มะม่วงปลูกได้ทุกภาคก็จริง แต่ทว่าผลผลิตและรสช าติในภาคกลางรู้สึกว่าจะได้เปรียบกว่าภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะในท้องที่จังหวัดฉะเชิงเทรา อันเป็นแหล่งปลูกมะม่วงมาช้านานและมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศ โดยปกติมะม่วงจะตกดอ กออ กช่อในเดือนธันวาคม ผลจะแก่ในราวปล า ยเดือน มีนาคมต่อต้นเดือนเมษายนของทุกปี บางปีก็ตก บางปีออ กช่อติดผลมาก แต่ก็ร่วงหล่นภายหลัง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของต้นและสภาพแวดล้อม
ต้องบอ กเลยว่า ‘มะม่วง’ เป็นผลไม้ที่หากินได้ง่ายมากๆในบ้านเรามีหล า ยสายพันธุ์หล า ยรสช าติทั้งเปรี้ยวหวาน มันทานได้ทั้งแบบสุกและดิบเป็นผลไม้สุดโปรดของใครหล า ยคน เป็นที่นิยมกันอย่ างแพร่หล า ย จน มีการพัฒนาสายพันธุ์เพื่อ ข า ย ได้ร า ค าสูงขึ้น และมีการส่ งออ ก ข า ย ยังต่างประเทศอีกด้วย และในเรื่องของประโยชน์นั้นก็เรียกได้ว่า ไม่น้อยไปกว่าผลไม้นอ กร า ค าแพงๆ เลย
ประโยชน์ของมะม่วงที่เราเห็นเป็นประจำก็คงจะไม่พ้นการนำมารับประทานเป็นผลไม้สดทั้งดิบและสุก หรือมีการไปทำเป็น อ า ห า ร ว่างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น มะม่วงกวน มะม่วงแก้ว มะม่วงแช่อิ่ม มะม่วงน้ำปลาหวาน ข้าวเหนียวมะม่วง พายมะม่วง และนำไปใช้ประกอบ อ า ห า ร เช่น ใส่น้ำพริก ยำ ส้มตำ ส่วนยอ ดอ่อนหรือผลอ่อนก็สามารถนำมาประกอบ อ า ห า ร แทนผักได้ด้วย
วันนี้เราก็มีสาระดีๆ มานำเสนอให้เพื่อนๆ ได้ดูกัน นั้นก็คือวิ ธี การบังคับมะม่วงให้ออ กต ามจุดต่างๆ ของลำต้นได้เป็นไอเดียแบบใหม่ที่ใครหล า ยๆ คนยังไม่รู้จักมากนัก
วิ ธี ทำมะม่วงให้ออ กต ามจุดที่เราต้องการ การปฏิบัติ
เมื่อใบอ่อนที่แตกออ กมาใหม่เริ่ม ‘แผ่กาง’ ให้เด็ดทิ้ง ( เด็ดด้วยมือ ) ทั้งหมด เด็ดใบอ่อนทิ้งแล้ว เริ่มบำรุงทางใบด้วย สู ต ร สะสมต าดอ ก 1 – 2 รอบ ห่างกันรอบละ 5 – 7 วัน ช่วงนี้งดการให้น้ำทางรากเด็ดข า ด สะสมต าดอ กครบกำหนดแล้ว ให้เปิดต าดอ กด้วย ‘ฮอ ร์ โ ม น ไข่ + 13 – O – 46 + ไธโอยูเรีย’ ( ฮอ ร์ โ ม น ไข่ สู ต ร สเปน ) 2 – 3 รอบ ห่างกันรอบละ 5 – 7 วัน ผลรับ
เมื่อไม่มี ‘ตุ่มต า’ ที่ซอ กใบปล า ยยอ ด เนื่องจากถูกเด็ดใบทิ้งแล้ว และพัฒนาขึ้น มาใหม่ไม่ทัน ต้นจะพัฒนาต าที่อยู่ใต้เปลือ กบริเวณโคนกิ่ง ( กิ่งแก่ ) หรือใต้เปลือ กบริเวณลำต้นขึ้น มาแล้วกล า ยเป็นตุ่มต าที่มีดอ กออ กมาได้แทน
หลักการและเหตุผล
มะม่วงเป็นไม้ผลประเภทออ กดอ กติดผลที่โคนใบปล า ยกิ่ง ผลจากการบำรุงด้วย สู ต ร สะสม อ า ห า ร เพื่อ การออ กดอ ก ( สะสมแป้งและน้ำต าล ) แล้วปรับ C/N เรโช ไม่ประสบความสำเร็จ กล่าวคือ ถ้าปรับ C/N เรโชแล้ว N ยังมากกว่า C ( อาจเป็นเพราะ N จากน้ำฝน ) เมื่อเปิดต าดอ ก มะม่วงต้นนั้นจะออ กเป็นใบอ่อนแทนออ กเป็นดอ ก
ผลจากการให้ อ า ห า ร กลุ่มสร้าง C ที่เคยให้ไว้เมื่อครั้งบำรุงด้วย สู ต ร สะสมต าดอ กนั้น แม้มะม่วงต้นนั้นจะแตกใบอ่อนออ กมา แต่สาร อ า ห า ร กลุ่มนั้นบางส่วนยังคงเหลืออยู่ภายในต้น ซึ่งสาร อ า ห า ร กลุ่มนี้ยังพร้อมที่จะส่ งเสริมให้มะม่วงออ กดอ กชุดใหม่ได้
จำไว้ว่า ใบอ่อนเสมอ ดอ กจะเสมอ การดูแลจะง่าย เมื่อเราเห็นช่อ ดอ กเริ่มแทงออ กมา
ใครเป็นคนริเริ่มหลักการนี้ครั้งแรก เราก็ได้สืบทราบมาว่า สวน มะม่วงที่ประสบความสำเร็จจากการปฏิบัติบำรุงต ามแนวนี้ ได้แก่ สวน มะม่วงน้ำดอ กไม้ที่เขาหินซ้อน จ.ฉะเชิงเทรา สวน มะม่วงน้ำดอ กไม้ – เขียวเสวย – ฟ้าลั่น ที่ อ.ไชโย จ.อ่างทอง
ส่วน มะม่วงขาวนิยม ที่บางบอน กทม. และ สวน มะม่วงขาวนิยม ที่ อ.บางแพ จ.ราชบุรีออ กดอ กติดผลที่โคนกิ่ง ทั้งกิ่งอ่อน กิ่งแก่ กิ่งกลางอ่อนกลางแก่ และกลางลำต้นได้ดอ กที่ออ กมานี้เมื่อบำรุงต ามขั้นตอนปกติ ก็สามารถพัฒนาเป็นผลระดับเกรด เอ. ได้เช่นกัน
ที่มา parinyacheewit