วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้พฤติก ร ร มที่ไม่ควรทำกับลูก กับบทความ 9 พฤติก ร ร มที่พ่อแม่ไม่ควรทำลูก ไปดูกันว่ามีพฤติก ร ร มอะไรบ้างที่ไม่ควรทำ
1 มองข้ามการแสดงความคิดเห็นของลูก
ผู้ใหญ่มักแสดงความไม่พอใจต่อเด็กที่ประพฤติตัวไม่ดี โดยอาจใช้การดุด่า ต่อว่า แต่เด็กร้อยละ 90 ไม่สามารถแสดงอาการไม่พอใจในตัวผู้ใหญ่ออ กมาได้ และหากกล่าวว่าผู้ใหญ่ผิดก็ทำให้มองว่าเป็นเด็กไม่ดี ทำตัวไม่เหมาะสม ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว พ่อแม่สามารถเป็นแบบอย่ างให้ลูกในการแสดงออ ก และเปิดใจให้กว้าง ต่อ การฟังความคิดเห็นจากทุกคนในครอบครัว ยอมรับความผิดถูก และช่วยกันแก้ปัญหาเพื่อให้ลูกกล้าแสดงออ ก และรู้จักที่จะยอมรับในสิ่งผิด อันจะเป็นรากฐานต่อ การใช้ชีวิตในสังคมเมื่อเขาเติบโตขึ้น
2 ใช้ความรุนแรงกับลูก
หมดยุคการลงโทษโดยใช้ไม้เรียวตีลูก เพื่อสร้างให้เป็นคนดีกันแล้ว เพราะการตีหรือใช้ความรุนแรงกับเด็ก ไม่ได้สร้างความเปลี่ยนแปลง หรือปรับนิสัยลูกให้เป็นไปต ามที่พ่อแม่คาดหวังได้ แต่จะเป็นการซ้ำเติมให้ลูก มีปมภายในใจหนักขึ้นไปอีก ความรุนแรงระหว่างพ่อแม่ทะเลาะกัน หรือความรุนแรงที่ทำต่อลูก ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่ดี ที่ยิ่งทำให้ลูกมีอาการต่อต้านหนักขึ้น และจะกล า ยเป็นภาพจำ ทำให้ลูกกล า ยเป็นเด็กก้าวร้าวต่อไปได้ในอนาคต
3 เมินเฉยกับการทำดีของลูก หรือรู้สึกยินดีแบบผ่านๆ
ผู้ใหญ่มักมองเห็นความสำเร็จเล็กๆ ของลูกเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อย และให้ความยินดีแค่เพียงผ่านๆ แทนที่จะมองว่าผลลัพธ์ ในสิ่งที่ลูกทำได้ดีนั้น จะเป็นการต่อยอ ดไปสู่ผลงาน หรือความสำเร็จที่ดีในอนาคตของเขาได้ หากได้รับการส่ งเสริมที่ดีจากพ่อแม่ การเมินเฉยหรือ การยินดีแค่เพียงชั่ วขณะ อาจทำให้ลูกรู้สึกไม่มั่นใจ และไม่ภาคภูมิใจกับความสำเร็จที่เกิดขึ้นได้
4 นำเรื่องที่เคยทำผิดของลูกมากล่าวว่าซ้ำๆ
ผู้ใหญ่ส่วน มากเวลาดุเด็กที่ทำผิด มักจะนำเรื่องของลูกที่เคยทำผิดมาแล้ว มากล่าวว่าซ้ำๆ เหมือนเป็นการตอ กย้ำซ้ำเติมลูกเข้าไปอีก และร้อยละ 50 ที่แสดงอาการแบบนี้ จะหยุดก็ต่อเมื่อเด็กเกิดอาการเสียใจ การทำแบบนี้ถือเป็นการกระทำที่ทำร้ า ยจิตใจลูกได้มาก และจะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกเ จ็ บใจ โ ก ร ธ จนทำให้ลูกไม่คิดจะปรับปรุงตัวให้เป็นเด็กที่ดีขึ้นง่ายๆ แน่
5 เปิดเผยความลับของลูกให้คนอื่น
แท้จริงแล้วพ่อแม่คือที่ปรึกษาที่ดีที่สุดของลูก แต่เด็กในสังคมไทยปัจจุบัน กลับเลือ กปรึกษาเพื่อนก่อนพ่อแม่ ซึ่งอาจจะเป็นเพราะว่าบางเรื่อง พ่อแม่เห็นว่าไม่ใช่เรื่องใหญ่ หรือเป็นเรื่องที่มองข้ามความสำคัญของลูกไป หรือแก้ปัญหาไม่ตรงจุด จนลูกมองว่าพ่อแม่ช่วยอะไรไม่ได้ แต่สาเหตุหลักคือเรื่องของความลับที่เด็กไม่อย ากให้คนจำนวน มากรู้ หากมีเรื่องสำคัญนั้น ร้อยละ 80 ลูกมักจะเลือ กบอ กแม่ แต่แม่ก็อาจจะนำความลับนี้ไปปรึกษาพ่อหรือคนอื่น ซึ่งการทำแบบนี้ อาจทำให้เด็กเกิดความรู้สึกไม่ไว้วางใจ หรือเชื่อใจที่จะบอ กความลับตนเอง จึงมักทำให้เกิดปัญหาต ามมาทีหลังได้
6 ลงโทษเมื่อลูกทำผิด
พ่อแม่จำนวน มากคิดว่าการลงโทษ คือวิธีที่จะทำให้เด็กจดจำ และจะไม่ทำผิดอีก แต่กลับตรงกันข้าม วิธีนี้จะทำให้ทำให้ลูก รู้สึกเสียใจ กล า ยเป็นเด็กที่เก็บกด และกลัวความผิดพลาด จนกล า ยเป็นคนขี้ระแวงได้ วิธีที่ถูกต้องที่สุดคือ การปลอบเมื่อลูกทำผิดพลาด อธิบายเหตุผลว่าทำไมนี่คือสิ่งที่ลูกทำผิด จะมีผลเสียอย่ างไร พร้อมทั้งแนะนำ ช่วยกันหาวิธี คิดแก้ปัญหาให้กับลูก หรือใช้วิธีลงโทษแบบนุ่มนวล เช่น การลงโทษแบบ time in หรือ time out
7 ใช้ถ้อยคำรุนแรง ด่าว่าลูก
การใช้ถ้อยคำที่ว่ากล่าวตักเตือนเมื่อเด็กทำผิด ไม่ใช่การด่าว่า ใช้คำรุนแรง ส่อเสียด เพื่อให้เด็กกลัวหรือหลาบจำ เพราะการทำแบบนี้ นอ กจากจะทำให้ลูกรู้สึกไม่ดี ยังทำให้เด็กไม่มีความสำนึกผิด หนำซ้ำยังคิดจะทำครั้งต่อไป แบบที่ไม่ทำให้โดนจับได้ เพื่อจะได้ไม่โดนด่า แถมยังเกิดการเลียนแบบถ้อยคำหย าบคายจากผู้ใหญ่อีกด้วย
8 อารมณ์เสียใส่ลูก
พ่อแม่ที่อารมณ์เสียหรือทะเลาะกัน บางครั้งก็มักจะอารมณ์เสียใส่ลูกโดยไม่รู้ตัว หรือพาลไปหาเรื่องลูก ลงใส่ลูก การทำแบบนี้นอ กจากจะเป็นการทำร้ า ยจิตใจลูกโดยง่ายแล้ว ยังทำให้ลูกรู้สึกว่าพ่อแม่ไม่มีเหตุผล จนไม่คิดจะเชื่อถือได้
9 เอาความคิดของตัวเองเป็นหลัก และไม่ใจกว้างที่จะเข้าใจลูกตัวเอง
พ่อแม่อาจจะจดจำวันเดือนปีเกิดของลูกได้ รู้ว่าลูกชอบกินอะไร หรือไม่ชอบอะไร ฯลฯ แต่การรู้จักลูกในสิ่งเหล่านี้ ไม่ได้หมายความว่า คนเป็นพ่อแม่จะเข้าใจในสิ่งที่ลูกคิดได้ หากคุณยังต้องการให้ลูกทำสิ่งต่างๆ ในแบบที่พ่อแม่คิด โดยไม่ถามความสมัครใจ หรือไม่ได้สังเกตอาการ สีหน้า ความสุข ของลูกเลย พ่อแม่ทุกคนอย ากเลี้ยงลูกให้ดีที่สุด แต่นั้นก็ไม่ได้หมายความว่าจะห้ามตี ห้ามดุไปเลยทีเดียว แต่ควรทำแบบพอ ดี ไม่มากเกินไป
ควรใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ใช้ความจำเป็นให้มากกว่าความต้องการ เพื่อไม่เป็นการทำร้ า ยจิตใจลูก และสร้างลูกให้เป็นคนดีต่อไป เพื่อความภูมิใจของคุณพ่อคุณแม่ เมื่อเขาเติบโตขึ้น มานะคะ
ที่มา t h t h e a s i a n p a r e n t, a a n p l e a r n